1.ความหมายของช่องทางการจัดจำหน่าย
ช่องทางการจัดจำหน่าย: “กลุ่มองค์กรอิสระที่ช่วยอำนวยการขนย้ายแลกเปลี่ยนสินค้าจากผู้ผลิตไปยัง
ผู้บริโภค หรือผู้ใช้ทางอุตสาหกรรม”
ผู้มีส่วนร่วมในช่องทางจัดจำหน่าย
1. ผู้มีส่วนร่วมที่เป็นสมาชิก (Member participants)
“ผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ซื้อและขายรวมทั้ง
การโอนกรรมสิทธิ์สินค้า”
1.1 พ่อค้าคนกลาง (Merchant middleman)
- มีกรรมสิทธิ์ / ค้าปลีก / ค้าส่ง
1.2 ตัวแทนคนกลาง (Agent middleman)
- ไม่มีกรรมสิทธ์ / นายหน้า
2. ผู้มีส่วนร่วมที่ไม่เป็นสมาชิก (Nonmember participants)
“ผู้มีหน้าที่ในการอำนวยความสะดวกและ
สนับสนุนกลุ่มที่ 1” เช่น ธนาคาร บริษัทโฆษณา บริษัทวิจัย
2. ประโยชน์ของคนกลาง
1. ความชำนาญเฉพาะด้านและหลักการแบ่งงานกันทำ (Specialization and Division of Labor)
2. ขจัดปัญหาความเหลื่อมล้ำ
- ความเหลื่อมล้ำในปริมาณสินค้า
- ความเหลื่อมล้ำในสถานที่
- ความเหลื่อมล้ำเรื่องเวลา
- ความเหลื่อมล้ำของกลุ่มสินค้า
3. ประสิทธิภาพในการติดต่อ (Contact efficiency)
3. หน้าที่ในช่องทางการจัดจำหน่าย
- หน้าที่ทางด้านวิจัย
- หน้าที่ด้านการส่งเสริมการตลาด
- หน้าที่ทางด้านการติดต่อ
- การคัดเลือกและการจัดสรรสินค้า
- การคัดเลือกและรวบรวม
- การรวบรวม
- หน้าที่จัดสรร
- การสร้างส่วนผสมของสินค้า
- หน้าที่ทางด้านการต่อรอง
- หน้าที่การขนส่งและการเก็บรักษา
- หน้าที่ด้านการเงิน
- หน้าที่รับภาระความเสี่ยง
4. โครงสร้างของช่องทางการจัดจำหน่าย
- ช่องทางจำหน่ายสินค้าบริโภค
- ช่องทางจำหน่ายสินค้าอุตสาหกรรม
5. การออกแบบช่องทางการจัดจำหน่าย
- ระบุความจำเป็นที่ต้องออกแบบ
1.
ผลิตภัณฑ์ใหม่หรือ พัฒนา สายผลิตภัณฑ์ใหม่
2.
ผลิตภัณฑ์เดิมกลุ่มเป้าหมายใหม่
3.
มีการเปลี่ยนแปลง 4
P’s
4.
ตั้งกิจการใหม่หรือมีการรวมกิจการ
5.
คนกลางในช่องทางเดิมที่มีการ เปลี่ยนแปลงนโยบาย
6.
เกิดความขัดแย้งหรือ ปัญหาด้านพฤติกรรม
7.
ขยายพื้นที่การขาย
8.
การเปลี่ยนแปลงในสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ
9.
ตรวจสอบและประเมินช่องทาง การจัดจำหน่ายเดิม
- ตั้งวัตถุประสงค์ของช่องทาง
- กำหนดงานและหน้าที่ในช่องทาง
- การพัฒนาโครงสร้างช่องทางที่จะอาจเป็นไปได้
1.
จำนวนระดับ (Number of Level)
- ความหนาแน่นในแต่ละระดับ
1.
การจัดจำหน่ายอย่างทั่วถึง
§ Convenience Good
§ Industrial Supplies
2.
การจัดจำหน่ายอย่างเลือกสรร
§ Shopping Goods
3.
การจัดจำหน่ายแบบผูกขาด - Specialty Goods
- ชนิดของคนกลาง (Types of Intermediaries)
5. การประเมินและการเลือกช่องทาง
5.1 ปัจจัยด้านการตลาด
5.1.1 ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของตลาด
5.1.2 ขนาดของตลาด
5.1.3 ความหนาแน่นของตลาด
5.1.4 พฤติกรรมของตลาด
5.2 ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์
5.2.1 ขนาดและน้ำหนัก
5.2.2 ความเน่าเสียง่าย
5.2.3 มูลค่าต่อหน่วยสินค้า
5.2.4 ระดับความเป็นมาตรฐานของสินค้า
5.2.5 ลักษณะทางเทคนิคของผลิตภัณฑ์
5.3 ปัจจัยทางด้านบริษัท
5.3.1 ฐานะทางการเงินของบริษัท
5.3.2 ความชำนาญด้านการบริหาร
5.3.3 ความต้องการที่จะควบคุม ช่องทางการจัดจำหน่าย
5.4 ปัจจัยทางด้านคนกลาง
5.4.1 ความสามารถในการหา คนกลางที่ต้องการ
5.4.2 ต้นทุน (Cost)
5.4.3 การให้บริการ (Service)
6. การเลือกโครงสร้างช่องทางที่ดีที่สุด
7. การคัดเลือกสมาชิกช่องทาง
7. การคัดเลือกสมาชิกช่องทาง
- การค้นหาสมาชิกช่องทางที่คาดหวัง
- ตั้งเกณฑ์ในการเลือก
- การชักจูงเพื่อให้เป็นสมาชิก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น